ลองทำ Kubernetes บน Amazon EKS แบบง่ายๆ ด้วย eksctl

ไปลองเล่น Kubernetes บน Amazon EKS มา ขอบันทึกไว้หน่อย ใช้งานง่ายดีครับ ด้วยเครื่องมือของทาง Amazon ที่ชื่อว่า eksctl (ใช้งานร่วมกับ kubectl)

Continue reading “ลองทำ Kubernetes บน Amazon EKS แบบง่ายๆ ด้วย eksctl” »

ทดสอบความเร็ว .NET Core 3.1 (Official Runtimes) บน AWS Lambda

และแล้ว วันที่ผมรอคอย (รวมถึงชาว .NET Core บน. AWS Lambda) ก็มาถึง เมื่อ AWS ประกาศรองรับ .NET Core 3.1 เป็น Official Runtime แล้วจ้า (จริงๆ ประกาศตั้งแต่ 31 มีนาคม 2563 แต่ผมเห็นช้าไปหน่อย แหะๆ) ต้องขอทดสอบสักหน่อยว่าดีขึ้นแค่ไหน แต่เฉลยไว้ก่อนเลยว่า ลดเวลาการเกิด Cold Start จาก .NET Core 2.1 ได้ถึง 50% เลยทีเดียว

Continue reading “ทดสอบความเร็ว .NET Core 3.1 (Official Runtimes) บน AWS Lambda” »

ลองทำ PHP Serverless ง่ายๆ ด้วย bref

ไหนๆ ก็เขียน PHP อยู่แล้ว เลยมาลองทำเป็น Serverless ทดสอบบน AWS Lambda สักหน่อย ถ้าวิธีปกติคือทำเป็น Custom Runtime แต่ขั้นตอนอาจจะยุ่งยากนิดนึง เลยมีคนทำเครื่องมือชื่อ bref ขึ้นมา ใช้ง่ายมากครับ ลองมาดูวิธีทำกัน

Continue reading “ลองทำ PHP Serverless ง่ายๆ ด้วย bref” »

ทดสอบความเร็ว .NET Core 3.0 และฟีเจอร์ ReadyToRun (R2R) ในการทำ AWS Lambda

เมื่อ 23 กันยายน ที่ผ่านมา Microsoft ได้ฤกษ์เปิดตัว .NET Core 3.0 (3.0.100) ตัวเต็มให้ได้เล่นกัน หลังจากเป็นข่าวมาร่วมปี ซึ่งมาพร้อมกับฟีเจอร์และพัฒนา Performance จากเวอร์ชัน 2.2 เยอะพอสมควร ใครอยากรู้รายละเอียดสามารถไปตามอ่านได้ที่ Announcing .NET Core 3.0

ในครั้งนี้มีฟีเจอร์หนึ่งที่น่าสนใจคือ ReadyToRun (R2R) ซึ่งจริงๆ มันมาตั้งแต่ .NET Core 3 Preview 6 แล้ว นั่นคือทำให้ .NET Core application แปลงเป็น Native App ให้ไวขึ้น ส่งผลกับ startup time ที่ดีขึ้น (AOT – ahead-of-time) จากแต่เดิมซึ่งมีเพียงแค่ แปลง Byte Code เป็น Executable Code (JIT – Just in Time)

ผมนี่ตาลุกวาวทันที ไม่รอช้าที่จะหยิบมันมาทดสอบเป็น AWS Lambda เพื่อดูปัญหา Cold Start ว่าจะดีขึ้นได้มากน้อยแค่ไหน

Continue reading “ทดสอบความเร็ว .NET Core 3.0 และฟีเจอร์ ReadyToRun (R2R) ในการทำ AWS Lambda” »

9 วิธีจัดการกับ Cold Start ใน Serverless ให้ทำงานได้ไวที่สุด พร้อมตัวอย่าง

Update 6 Nov 2019 – ทาง AWS ได้แก้ไขปัญหาเรื่อง Cold Start เนื่องจากใช้ VPC แล้ว ซึ่งมีผลกับ Region ดังนี้ US West (N. California), EU (Ireland), EU (Paris), Asia Pacific (Mumbai), Asia Pacific (Seoul), Asia Pacific (Singapore), Asia Pacific (Sydney), and South America (San Paulo) – ที่มา aws.amazon.com

Update 27 Sep 2019 – ทาง AWS ได้แก้ไขปัญหาเรื่อง Cold Start เนื่องจากใช้ VPC แล้ว ซึ่งมีผลกับ Region ดังนี้ US East (Ohio), EU (Frankfurt), and Asia Pacific (Tokyo) – ที่มา aws.amazon.com

ผมเชื่อว่าใครก็ตามที่ตัดสินใจทำ Serverless มักเจอปัญหาที่แก้ไม่ตกคือ เรื่อง Cold Start ซึ่งบล็อกนี้ผมขอแชร์ประสบการณ์ที่ได้แก้ปัญหาทั้งหมด 9 วิธี เผื่อจะเป็นประโยชน์กันนะครับ (ขออ้างอิงจากผู้ให้บริการ AWS Lambda และภาษาที่ใช้พัฒนา C# .NET Core)

Continue reading “9 วิธีจัดการกับ Cold Start ใน Serverless ให้ทำงานได้ไวที่สุด พร้อมตัวอย่าง” »